สังคมคนไร้บ้าน ภาพเก่าเล่าตำนาน : คนไร้บ้าน… 2 ฝั่งถนนราชดำเนิน

สังคมคนไร้บ้าน แก้ปัญหาคนไร้บ้าน  ปัญหาคนไร้บ้านในไทย  ปัญหา สังคม คนไร้บ้าน  ปัญหาคนไร้บ้านในกรุงเทพ   คนไร้บ้าน สาเหตุ บทความการใช้ชีวิต

 

สังคมคนไร้บ้าน

 

สังคมคนไร้บ้านราว 2 ปีที่ผ่านมาระหว่างโควิด-19 พรากชีวิตมนุษย์ไปแบบไม่ยั้ง… ชีวิตแสนจะฝืดเคือง มีป่วย แก้ปัญหาคนไร้บ้านมีตายแบบน่าสะทกสะท้าน เผาศพกันไม่หยุด เตาเผาศพแตกหลายประเทศเกิดปรากฏการณ์ Food Bank นำอาหารไปใส่ตู้ไว้ วางไว้ คนที่เดือดร้อนมาหยิบไปกินได้ แบ่งกันกิน เป็นความเห็นอกเห็นใจของเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน เมืองไทยเรียกกันว่า “ตู้ปันสุข” ไม่เป็นสองรองใครในโลก บ้าน ร้านค้า …นำอาหารกระป๋อง อาหารกึ่งสำเร็จรูปใส่ในตู้ ใครมาหยิบ ใครมาแบ่งเอาไป …ตามสบาย …หลายแห่งไปได้สวย หลายแห่งไม่สวย เพราะเอาถุงมา “โกย” แบบดุเดือด ในระยะเผาขน โควิด-19 ในไทย ยืนระยะยาวเหมือนกับประเทศ อื่นๆ ผู้คนทำมาหากินไม่สะดวก ตกงาน ยากแค้น แสนสาหัสคนต่างจังหวัดที่เข้ามาทำงานใน กทม. “ถูกลอยแพ” ต้องอพยพกลับไปบ้านเกิดในต่างจังหวัดเพื่อประทังชีวิต

นักเรียน นักศึกษา ต้องเรียนแบบออนไลน์ ไม่ต้องไปโรงเรียน รู้มั่งไม่รู้มั่ง ไม่รู้จะทำยังไง ข้าราชการทำงานจากที่บ้าน ร้านค้าถูกคำสั่งงดประกอบการ ดนตรี กีฬา ลิเก แทบจะล้มหายตายจากไปจากสังคม ถนนโล่ง … อาหาร คือ ของหายาก จากที่เคยตั้ง “ตู้ปันสุข” เกิดมิติใหม่ในการบริจาค …คนไทยใจบุญ ขอนำอาหารสำเร็จรูปไป “แจกจ่าย” ถึงแหล่งชุมชน มากบ้าง น้อยบ้าง …สร้างสุข บำบัดทุกข์ได้จริง ในดีมีเสียในเสียมีดี …บุคคลที่มิได้ยากแค้น มิได้อดอยาก ปรากฏตัวเข้ามาในกลุ่มผู้รับการช่วยเหลือ แอบแฝงตัวรับอาหารนำไปจำหน่าย นำไปแจกจ่ายกับกลุ่มของตน ที่เป็นข่าว น่าเจ็บใจ คือ กินทิ้งกินขว้าง ตามด้วยทิ้งอาหารเป็นขยะแบบน่าชิงชังรังเกียจ

 

สังคมคนไร้บ้าน

แก้ปัญหาคนไร้บ้าน

ไม่มีใครห้าม “ศรัทธา” ได้ การแจกจ่าย “ทำทาน” ยังดำเนินต่อไป ด้วยใจบริสุทธิ์ ก่อเกิด “จุดนัดพบ” ระหว่างผู้ให้ผู้รับ ใน กทมถนนราชดำเนิน และย่านใกล้เคียง คือ แหล่งพำนักของคนกลุ่มหนึ่ง เป็นที่รู้กันว่า จะมีผู้ใจบุญ ใจดี มาจอดรถนำอาหารมาแจกเสมอ ปัญหาคนไร้บ้านในไทยบุคคลที่เรียกกันว่า “คนไร้บ้าน” ที่พักพิงอยู่ 2 ฝั่งถนนราชดำเนิน เริ่มคึกคัก มีชีวิตชีวา เพิ่มจำนวนมากขึ้นๆ จากข้อมูลของเจ้าหน้าที่เทศกิจ และพนักงานกวาดถนนเขตพระนคร ชี้แจงว่า “ปัจจัยดูด” คือ การแจกอาหารของคนไทยที่จิตใจเอื้ออารี  มีน้ำใจต่อเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน มีองค์กรเอกชน กลุ่มบุคคล มูลนิธิ เข้ามาช่วยดูแลคนเหล่านี้บ้างแล้ว ช่วงโควิด มาฉีดวัคซีน ดูแลสุขภาพให้ถึงที่… น่าชมเชยยิ่งนัก

ความไร้ระเบียบ ความสกปรก โสโครก ตามมาเป็นเงา ผู้เขียนได้รับมอบหมายจาก ผู้ว่าฯกทมชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ให้ไปดูสถานการณ์ “คนไร้บ้าน” ที่กิน นอน ขับถ่าย ทิ้งขยะ บน 2 ฝั่งของถนนราชดำเนินตามที่มีการวิพากษ์อย่างหนักในสื่อออนไลน์ ข้อมูลที่จะขอถ่ายทอดต่อไปนี้ คือ การพูดคุยกับเจ้าหน้าที่เทศกิจ และพนักงานกวาดถนนของเขตพระนคร “…ช่วงก่อนโควิดพอมีอยู่บ้างราว 20 คน นอนอยู่บริเวณหน้าร้านค้าตลอดแนวถนน เพราะกว้างขวาง มีลมโกรก …บางคนไปทำงานที่อื่น แล้วกลับมานอนแถวนี้ ปัสสาวะตามซอกอาคาร แค่หันหน้าเข้ามุมก็ปล่อยฉี่ไหลนองลงมา ถ้าจะถ่ายก็เดินเข้าไปในตรอก เหม็นมาก…”  นี่เป็นคำบอกเล่าของพนักงานกวาดที่รับผิดชอบเก็บกวาดบริเวณนี้มาแล้วราว 20 ปีด้วยสีหน้าเรียบเฉย

ปัญหาคนไร้บ้านในไทย

เธอเล่าต่อไปในขณะกวาดขยะ… “ช่วงโควิด… มีคนทยอยมาเพิ่ม ปัญหา สังคม คนไร้บ้านเพราะมารับวัคซีน มีเจ้าหน้าที่มาตรวจโรค ดูแล ทำเอาบริเวณนี้คึกคัก …เริ่มมีการนำอาหาร น้ำดื่มมาแจกจ่าย …จอดรถสะดวก ถนนกว้าง มีพื้นที่จัดแจงความเป็นอยู่แบบไม่เบียดเสียด…” แค่จอดรถแล้วแจกอาหารกล่อง กลายเป็นเหตุการณ์ปกติมายาวนานเป็นปี ที่สร้างความสุขใจทั้งผู้ให้และผู้รับ ปากต่อปากอยากกินอาหารต้องมาถนนราชดำเนิน ใน กทม.ยังมีพื้นที่ หัวลำโพง บางลำพู อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ปทุมวัน โรงพยาบาลกลาง เยาวราช สวนรมณีนาถ  และวัดบวรฯ เป็นแหล่งพำนักควบคู่ไปด้วย ถนนราชดำเนินมีจำนวนมากที่สุด… ตัวเลขประมาณการในพื้นที่ กทมคาดว่ามีราว 2,000 คน

เมื่อจำนวนของผู้มารอรับอาหารย่านราชดำเนินทะยานสูงขึ้น และสูงขึ้น ผลที่ตามมา คือ ขยะจากภาชนะบรรจุอาหาร ขวดน้ำ กระดาษชำระที่ใช้แล้ว เมื่อลมพัด ปลิวเร่ร่อนไปทุกพื้นที่ ของเสียจากการขับถ่ายเพิ่มขึ้นเป็นทวีคูณ เลอะเทอะ เรี่ยราดถึงขนาดถ่ายใส่โคนต้นไม้ที่มีอิฐก่อบริเวณโคนต้น   เมื่อมีขยะพนักงานกวาดที่แสนจะสัตย์ซื่อ ไม่มีทางเลือก ต้องเข้าไปจัดการนำสิ่งโสโครกกวาดออกมาให้โคนต้นไม้สะอาด เวลาที่ใช้เก็บกวาดมากขึ้น ขยะล้น แม้กระทั่งหลังโควิด… ต้นปี พ..2566 เรื่องการแจกอาหารข้างถนนราชดำเนินทั้ง 2 ฝั่งยังมีผู้ใจบุญมาจอดรถ  เนื่องในวันเกิดขอทำทาน นำอาหารมาแจก เพราะเห็นว่ายังมีคนไร้บ้านอยู่เยอะ

 

สังคมคนไร้บ้าน

 

ปัญหา สังคม คนไร้บ้าน

เมื่อมีสิ่งนั้น จึงมีสิ่งนี้แปลความได้ว่า …คนไร้บ้าน “เพิ่มขึ้นมาก” เพราะทราบว่าจะมีคนมาแจกอาหาร ในทางกลับกัน คนที่มาแจกอาหารเห็นคนไร้บ้านมีเยอะเลยตั้งใจมาแจกที่นี่ กลายเป็นงูกินหาง ไล่เรียงกันไปไม่หยุด ข้อมูลจริง” จากทีมงานของรองผู้ว่าฯกทม.ศานนท์ หวังสร้างบุญ ระบุว่า “มูลนิธิกระจกเงา รวมถึงองค์กรภาคประชาชน  เจ้าหน้าที่เทศกิจฯ กทมเข้ามาดูแล เจือจุนกันมานานแล้ว ปัญหาคนไร้บ้านในกรุงเทพจำนวนคนไร้บ้านในกรุงเทพฯที่เพิ่มขึ้นนั้นมาจากปัญหาการตกงาน ก่อนระหว่างหลัง โควิด และไม่มีเงินจะจ่ายค่าเช่าที่พักได้ จึงเลือกที่จะมาอาศัยนอนอยู่ตามท้องถนน ที่เรียกกันว่า “คนไร้บ้าน” หรือจะเรียก “คนเร่ร่อน” หรือจะเรียกอะไรก็ตาม ที่พบเห็นตามชุมชน สถานที่ต่างๆ ในเมืองไทย มีที่มาจาก แหล่ง/สาเหตุ ครับ าเหตุปัญหาคนไร้บ้าน (ข้อมูลจาก Pawida W. 27 February, 2020)

1.ปัญหาครอบครัว เมื่อสถาบันครอบครัวมีปัญหาก็ย่อมส่งผลกระทบต่อปัญหาสังคมที่สามารถลุกลามไปได้กว้าง ครอบครัวไม่อบอุ่น โดนไล่ออกจากบ้านบ้าง ครอบครัวแตกแยกบ้าง ไม่ได้รับการยอมรับจากครอบครัวบ้าง

2.ปัญหาเศรษฐกิจ ความเหลื่อมล้ำในสังคมกรุงเทพฯ ค่าครองชีพที่เพิ่มสูงขึ้น แต่เศรษฐกิจฝืด คนไม่ค่อยใช้จ่ายกัน การเลิกจ้างแรงงาน มีหนี้สิน ไม่สามารถซื้อหรือเช่าบ้านได้ ขาดรายได้ หรือบางคนก็โดนโกง

3.ปัญหาสุขภาพ คนไร้บ้านบางส่วนมีอาการวิกลจริต ติดยา ติดเหล้าจนส่งผลเสียต่อสุขภาพแต่ไม่มีเงินรักษาให้หายขาด ขาดความรู้ความเข้าใจด้านสุขอนามัย จนในที่สุดก็ไม่ได้รับความช่วยเหลือหรือการยอมรับในสังคม

องค์กรเอกชน มูลนิธิ ปัจเจกบุคคล ยื่นมือเข้ามาให้ความช่วยเหลือมาอย่างเป็นระบบที่เชื่อมต่อกับ กทมรวมถึง กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.)

ปัญหาคนไร้บ้านในกรุงเทพ

มีที่พักที่จัดให้หลายแห่งเพื่อรองรับ กินอยู่ฟรี หากแต่ส่วนใหญ่ไม่ประสงค์จะเข้าไปอยู่ในกรอบระเบียบ ระบบ ปัญหาคนไร้บ้าน คนเร่ร่อน คนไร้ที่พึ่ง มีเงาทับซ้อน ซ่อนปมปัญหาไว้ไม่น้อย กล่าวโดยรวม คือ ในกลุ่มคนที่น่าช่วยเหลือเหล่านี้… มี “กลุ่มแอบแฝง” ในทางมิชอบอยู่ด้วย ต้นปี พ..2566 ผู้ว่าฯกทม.ให้ประสานไปยังตำรวจ สน.ชนะสงคราม สน.สำราญราษฎร์ และ พม.เพื่อขอจัดการ ดูแล  แนวทางการทำงาน คือ ขอร้องให้ผู้ใจบุญ ขยับจุดจอดรถบริจาคอาหารไปยังบริเวณหน้าโรงแรมรัตนโกสินทร์ คนไร้บ้าน สาเหตุที่เชื่อมไปถึงตรอกสาเก ใช้รถติดเครื่องขยายเสียง ประกาศ เมื่อเห็นรถมาจอดเพื่อแจกอาหาร …พี่น้องประชาชนให้ความร่วมมือดีมาก ในเวลาเดียวกันก็ขอให้ผู้รับอาหารขยับไปตรงโน้น (ตรงนี้สำหรับมื้อเย็น)

สำหรับมื้อกลางวันกทม.ไปตั้งเต็นท์จัดจุดแจกจ่ายอาหาร ณ พื้นที่ใต้สะพานพระปิ่นเกล้า ไม่เกะกะการจราจร มีร่มเงา มีมุมสงบ ปรากฏว่าได้ผลดี ผู้บริจาคอาหาร “ร่วมมือ” มามอบอาหารบริเวณนี้ …ผู้รับอาหารทยอยย้ายมารับอาหารตรงนี้ ผู้เขียน ไปสอบถามผู้มาบริจาคอาหารทุกคนชื่นชอบการแจกอาหาร สงเคราะห์ผู้ตกทุกข์ได้ยาก ส่วนใหญ่มาบริจาคเนื่องในวันเกิด 11 มกราคม พ..2566 ช่วงเที่ยง แวะไปเยี่ยม พบว่าอาหารสะอาด น่ารับประทาน ภาชนะบรรจุอย่างดี มีทั้งของคาว ขนม เครื่องดื่ม เทศกิจจัดระเบียบ แจกจ่ายกันแบบทั่วถึง เหลือเฟือ พอกลุ่มนี้แจกเสร็จกลับออกไปมี “กลุ่มใหม่” นำอาหารมาแจกต่อเนื่อง …เท่าที่เห็นกว่า 200 คน …

 

สังคมคนไร้บ้าน

 

คนไร้บ้าน สาเหตุ

ทุกวัน มีเต็นท์ข้างๆ จาก พม.มารับสมัคร เปิดโอกาสให้คนเหล่านี้ได้มีโอกาสทำงานตามถนัด มีค่าจ้าง ค่าแรง หากแต่บางคนก็ไม่ประสงค์จะทำงานใดๆ สอบถามพูดคุยกับผู้ที่ทานอาหาร ยอมรับว่า “…มาทุกวัน อาหารอร่อย นอนที่ไหนก็ได้ ไม่ขอไปอยู่ที่ไหน ชอบตรงนี้มีข้าวกิน มีความสุข…” รองผู้ว่าฯกทมศานนท์ ที่ทำงานด้านการสงเคราะห์มานานพร้อมกับเครือข่ายภาคเอกชน “จัดเต็ม” เพื่อจัดระเบียบ บทความการใช้ชีวิตทุกวันอังคารจะมีรถบรรทุกเครื่องซักผ้ามาจอดให้บริการให้บุคคลเหล่านี้ “ซักอบผ้า” ด้วยเครื่อง มีรถมาให้บริการอาบน้ำ ตัดผม ทำความสะอาดร่างกาย เอกชนจัดมาให้บริการ ไม่ใช้งบประมาณทางราชการ ที่ผ่านมาเรียบร้อยดี ขอยืนยันนะครับทางราชการจัดที่พักอาศัยให้แบบฟรีๆ …มีระบบ ระเบียบการอยู่ร่วมกัน เมื่ออยู่ไปได้ระยะหนึ่ง  ส่วนใหญ่ก็ขอตัวออกมา เพื่อขอใช้ชีวิตริมถนน ในที่สาธารณะ เพราะไม่ชอบกฎระเบียบในที่พัก …นี่เรื่องจริงครับ นักวิชาการลงพื้นที่ไปสำรวจความเห็น เก็บข้อมูลมา พบว่าเหตุผลใหญ่คือ รักความเป็นอิสระในชีวิต ในต่างประเทศก็เผชิญกับปัญหาแบบนี้ต้องการชีวิตอิสระ

ในบางกลุ่มที่ได้รับของแจกจ่าย จะมี “ขาใหญ่” ตั้งตัวเป็นหัวหน้า เข้าควบคุม กำกับการรับของ จัดคิว ตามมาด้วยผลประโยชน์ส่วนตน มีทะเลาะ ทำร้ายกันเอง เรื่องการบังคับใช้กฎหมาย เป็นเรื่องที่เป็นทางเลือกสุดท้าย ผู้ว่าฯกทมชัชชาติขอความกรุณาผู้ใจบุญทั้งหลาย กรุณาปรับขยับจุดแจกอาหารไปยังพื้นที่ใต้สะพานพระปิ่นเกล้า  มีเทศกิจอำนวยความสะดวก จอดรถ แล้วลงไปแจกจ่ายด้วยตัวเอง ผู้ต้องการรับอาหาร จะจัดแถวกันเอง มีระเบียบ ไม่กีดขวางการจราจร มีที่ทิ้งขยะ ทิ้งเศษอาหาร เป็นการทำงานแบบ win-win situation อยู่ร่วมกันได้ในสังคม โดยต้องเคารพสิทธิซึ่งกันและกันสังคมคนไร้บ้าน

ขอบคุณเครดิต  fifa2023online.com

 

ข่าวแนะนำ